สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
02-252-0161-4, 02-252-0167
En
Th
Go!
Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลองค์กร
ประวัติสถานเสาวภา
ประวัติสถานเสาวภา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ทำเนียบผู้อำนวยการ
คำจารึก
ภารกิจหลัก
ภารกิจหลัก 1 : ภารกิจด้านการผลิตและประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์
ภารกิจหลัก 2 : ภารกิจด้านการบริการ
ภารกิจหลัก 3 : ภารกิจด้านการวิจัย
โครงสร้างการบริหาร
ภารกิจฝ่าย กลุ่มงาน
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ฝ่ายบริการและวิจัยคลินิก
ฝ่ายชันสูตรและวิจัยโรคในสัตว์
ฝ่ายวิจัยและพัฒนา
สวนงู
ฝ่ายผลิตเซรุ่ม
ฝ่ายผลิตยาปราศจากเชื้อ
ฝ่ายผลิตวัคซีน
ฝ่ายประกันคุณภาพ
สถานีเพาะเลี้ยงม้าและสัตว์ทดลองฯ
ฝ่ายสนับสนุนอาคารและเครื่องจักรกล
อาคารของสถานเสาวภา
บริการและผลิตภัณฑ์
สวนงู
สวนงู สถานเสาวภา : ประวัติ ภารกิจ
งานบริการของสวนงู
ประเภทของงู
งานวิจัยเชิงวิชาการของสวนงู
คลินิกสัตว์เลื้อยคลาน (REPTILE SCIENCE CLINIC)
คลินิกป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
แนะนำคลินิก
บุคลากรประจำคลินิก
งานบริการที่คลินิก
ขั้นตอนการรับบริการ
รายการวัคซีนคลินิกป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าสำหรับประชาชน
ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าสำหรับบุคลากรทางการแพทย์
คำถามที่พบบ่อย
คลินิกเสริมภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์การท่องเที่ยว
แนะนำคลินิก
บุคลากรประจำคลินิก
งานบริการที่คลินิก
ขั้นตอนการรับบริการ
รายการวัคซีนคลินิกเสริมภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์การท่องเที่ยว
ความรู้เสริมภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์การท่องเที่ยว
โปรแกรมคำแนะนำการให้วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ
คำถามที่พบบ่อย
คลินิกพิษจากสัตว์
แนะนำคลินิก
บุคลากรประจำคลินิก
ขั้นตอนการรับบริการ
ความรู้เรื่องพิษจากสัตว์
คำถามที่พบบ่อย
งานชันสูตรและวิจัยโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์
ประวัติสถานเสาวภากับโรคพิษสุนัขบ้า
โรคพิษสุนัขบ้าคืออะไร
วิธีปฏิบัติและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
วิธีการส่งซากสัตว์ตรวจโรคพิษสุนัขบ้า
สถานที่ส่งตรวจชันสูตรโรคพิษสุนัขบ้า
ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์
คลินิกภูมิคุ้มกันในสัตว์เลี้ยง ฝ่ายชันสูตรและวิจัยโรคในสัตว์
ผลิตภัณฑ์ของสถานเสาวภา
บริจาคเงิน
ของที่ระลึก สถานเสาวภา
ข่าวประชาสัมพันธ์
ประกาศ/คำสั่ง/ข้อบังคับ
ข่าวประชาสัมพันธ์
เกร็ดความรู้
E-Book
สื่อ
Facebook
Youtube
IG
ข้อมูลวิชาการ
สารเสาวภา
บทความวิชาการ
งานวิจัย
ติดต่อเรา
ที่ตั้ง แผนที่การเดินทาง
แผนผังอาคารสถานเสาวภา
ติดต่อสถานเสาวภา
Go!
คลินิกพิษจากสัตว์
หน้าแรก
คลินิกพิษจากสัตว์
คำถามที่พบบ่อย
คลินิกพิษจากสัตว์
แนะนำคลินิก
บุคลากรประจำคลินิก
ขั้นตอนการรับบริการ
ความรู้เรื่องพิษจากสัตว์
คำถามที่พบบ่อย
คำถามที่พบบ่อย
คำถามทั่วไป
คลินิกเปิดทำการในวัน-เวลาใด
คลินิกเสริมภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์การท่องเที่ยว คลินิกป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และคลินิกพิษจากสัตว์
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น. (ปิดพักกลางวัน 12.00 - 13.00 น.)
วันเสาร์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 8.30-12.00 น. (ปิดรับบัตรคิว 11.45 น.)
วันอาทิตย์ ปิดทำการ
อย่างไรก็ตาม แนะนำให้มาถึงคลินิกก่อนเวลาปิดทำการอย่างน้อย 30 นาที เนื่องจากมีระยะเวลาในการดำเนินการ และผู้รับวัคซีนควรได้รับการเฝ้าสังเกตอาการภายหลังฉีดวัคซีนเป็นเวลาอย่างน้อย 30 นาที
จำเป็นต้องทำนัดหมายล่วงหน้า ก่อนเข้ารับบริการหรือไม่
ไม่จำเป็น ท่านสามารถเข้ารับบริการโดยไม่ต้องนัดหมายล่วงหน้าได้
เมื่อมาฉีดวัคซีน ต้องนำเอกสาร หลักฐานใดมาแสดงหรือไม่
ผู้รับบริการต้องนำบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวผู้รับบริการของสถานเสาวภามาแสดง
สำหรับชาวต่างชาติ ต้องนำหนังสือเดินทางมาแสดง
ทำอย่างไร หากลืมนำบัตรประจำตัวผู้รับบริการของสถานเสาวภา มาในวันรับบริการ
สามารถใช้บัตรประชาชนแทนได้ โดยแจ้งกับเจ้าหน้าที่ว่าเคยมารับบริการที่สถานเสาวภาแล้ว
สามารถจ่ายค่าวัคซีน ค่าตรวจเลือด ด้วยวิธีใดบ้าง
ขณะนี้ทางคลินิกรับชำระค่าบริการทุกชนิดด้วยเงินสดเท่านั้น
สามารถเบิกค่ารักษา ค่าวัคซีน และค่าตรวจเลือด ได้หรือไม่
กรณีถูกสัตว์กัดและรับการรักษาด้วยการฉีดวัคซีน และ/หรือเซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ท่านสามารถสำรองเงินจ่าย และนำใบเสร็จไปเบิกตามสิทธิการรักษาพยาบาลของท่าน เช่นเบิกราชการ รัฐวิสาหกิจ ฯลฯ
ส่วนการฉีดวัคซีนเพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และการตรวจเลือด โดยทั่วไปไม่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายได้ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขต้นสังกัดของผู้รับบริการ
คลินิกของสถานเสาวภา ตั้งอยู่ที่ใด และสามารถเดินทางไปได้อย่างไร
ที่อยู่ 1871 ถนนพระรามที่ 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
คลินิกตั้งอยู่ชั้น 1 ตึกอำนวยการ บริเวณหัวถนนอังรีดูนังต์ ตัดกับถนนพระราม 4 อยู่ในบริเวณรั้วเดียวกับศูนย์บริการโลหิต ฝั่งตรงข้ามกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มีรั้วติดกับจามจุรีสแควร์
Google search : สถานเสาวภา, Queen Saovabha Memorial Institute
คลิกที่นี่
รถไฟฟ้า mrt ลงสถานีสามย่าน ออกทางออก 2 เดินมาตามถนนพระราม 4 มุ่งหน้า… ระยะทาง 500 เมตร
รถไฟฟ้า bts ลงสถานีศาลาแดง เดินมาตามถนนพระราม 4 ฝั่งรพ.จุฬาลงกรณ์ ผ่านแยกอังรีดูนังต์ ระยะทาง 850 เมตร
สามารถติดต่อสอบถามได้ทางช่องทางใดบ้าง
โทรศัพท์ 02-252-0161 ต่อ 82119
E-mail : info@saovabha.org
คลินิกพิษจากสัตว์
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อถูกงูกัด
ผู้ที่ถูกงูกัดควรรีบพาไปโรงพยาบาลใกล้บ้านโดยเร็ว การปฐมพยาบาลที่ควรทำคือ ล้างทำความสะอาดแผล ควรให้ผู้ถูกกัดขยับบริเวณที่ถูกกัดน้อยที่สุด
ควรปฐมพยาบาลอย่างไร เมื่อถูกสัตว์มีพิษกัด
สัตว์พิษในไทยที่ไม่ใช่งูส่วนใหญ่ไม่ได้ก่อให้เกิดพิษรุนแรงโดยการกัด อย่างไรก็ตามควรทำความสะอาดแผลและปรึกษาแพทย์
หากมีผู้ถูกงูกัด จะมารับการรักษาที่สถานเสาวภาได้หรือไม่
ปัจจุบันสถานเสาวภาไม่มีการให้การรักษาแบบผู้ป่วยในแล้ว ผู้ที่ถูกงูกัดมาไม่นาน หากได้รับพิษก็จำเป็นที่จะต้องให้การรักษาแบบผู้ป่วยใน จึงแนะนำว่าหากถูกงูกัด และคิดว่าอาจเป็นงูพิษควรรีบไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้านโดยเร็ว